วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

การปฐมพยาบาล

การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ผู้ที่ได้รับอุบัติภัยหรือเจ็บป่วยกะทันหันโดยใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่พอจะหาได้ในบริเวณนั้น เพื่อช่วยบรรเทาอาการของผู้ป่วยและช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายน้อยลง   ก่อนที่จะนำส่งโรง พยาบาลเพื่อให้แพทย์ทำการรักษาพยาบาลต่อไป
หลักการทั่วไปของการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
1. เมื่อพบผู้บาดเจ็บที่มีเลือดออก ควรห้ามเลือด
2. ถ้าผู้บาดเจ็บไม่มีเลือดออก ควรตรวจว่าร่างกายอบอุ่นหรือไม่ มีอาการช็อคตัวเย็นซีดหรือไม่ ค อ่านเพิ่มเติม

สัมพันธ์ดี มีไมตรีเลี่ยงความขัดแย้ง

สัมพันธ์ดี มีไมตรีเลี่ยงความขัดแย้ง
ปัจจัยในการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคล
ปัจจัยที่จะสร้างให้คนมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันประกอบด้วยลักษณะต่างๆ ดังนี้
1.บุคลิกภาพที่ดี หรือนิสัยเฉพาะส่วนตัวที่ดีของบุคคลที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนเป็นจุดแรกก็คือ รูปร่าง หน้าตา ลักษณะท่าทาง การแสดงออก และการแต่งกายที่ดูดีมีสง่า มีส่วนดึงดูดความสนใจให้คนอยากเป็นมิตร อยากสนทนาพูดคุยด้วย
2.กิริยาท่าทาง หรือการแสดงออกต่อสายตาข อ่านเพิ่มเติม

สารเสพติดให้โทษ

สารเสพติดให้โทษ
สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด
วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี ถือเป็นวันต่อต้านยาเสพติดโลก เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศทั่วโลกประสบอยู่รวมทั้งประเทศไทย ในอดีตจะพบว่าการแพร่ระบาดนั้นจะอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้แรงงานและกลุ่มเยาวชน ชุมชนแออัด ผู้ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจแต่ปัจจุบันสารเสพติดกลับแพร่ระบาดเข้าไปสู่เยาวชนในสถานศึกษาแทน ซึ่งหากไม่มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพเพียงพ อ่านเพิ่มเติม

การใช้ยา

การใช้ยา
ความหมายของการใช้ยาและประโยชน์ของการใช้ยา
องค์อนามัยโลก (who) ได้ให้ความหมายของยาว่า ยา คือสารที่สารหรือผลิตภัณฑ์ที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย หรืทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางทางการพยาธิวิทยา ซึ่งทำให้เกิดโรค ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก้ผู้รับยา

1.ในการรักษาโรคให้หายขาด ยาหลายชนิดที่ใช้ในการรักษาโรคหรืออาการเจ็บป่วย

2.การใช้ยาในการควบคุมหรือบรรเทาอาการ

3.ก อ่านเพิ่มเติม

สุขภาพชุมชน

สุขภาพชุมชน
ความหมายและความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างเสริม สนับสนุนด้านสุขภาพโดยให้บุคคลมีการปฏิบัติและการพัฒนาสุขภาพ ตลอดจนจัดการสิ่งแวดล้อมและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพเพื่อให้บรรลุการมีสุขภาพที่ดีท้างทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ความสำคัญของการสร้างเสริมส อ่านเพิ่มเติม

               

โรคติดต่อ

โรคติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศ

โรคติดต่อ คือ โรคที่ติดต่อกันได้ทางตรง และ ทางอ้อมโดยมีเชื้อโรค หรือพิษของเชื้อโรคที่ทำให้เกิดโรค เช่น

1. โรคหวัดธรรมดา

2. โรคไข้หวัดใหญ่

3. โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ เอช 1 เอ็น 1

4. โรคไข้หวัดนก

5. โรคมาลาเรีย

6. โรคชิคุนกุนยา

7. โรคอุจจาระร่วง

8. วัณโรค

9. โร อ่านเพิ่มเติม 

สื่อโฆษณากับสุขภาพ

สื่อโฆษณากับสุขภาพ
ความหมายของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ
สื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ หมายถึง สื่อที่มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสินค้าหรือบริการต่างๆ ที่เกี่ยวกับสุขภาพโดยผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร นิตยสาร แผ่นพับ รวมทั้งการโฆษณาผ่านสื่อมวลชนต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร วิทยุ และโทรทัศน์ เป็นต้น รวมทั้งสื่อในลักษณะอื่นๆ เช่น ป้ายโฆษณา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริโภครับรูข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพเพื่อกระตุ้นจูงใจให้ผู้บริโภคซื้อหรือใช้สินค้าหรือบ อ่านเพิ่มเติม

สิทธิผู้บริโภค

สิทธิผู้บริโภค
ความหมายของการบริโภคและผู้โภค
ผู้บริโภคหมายถึง ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ หรือผู้ซึ่งได้รับการเสนอ หรือการชักชวน จากผู้ประกอบธุรกิจ เพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับ บริการ  และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้า หรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดยชอบ แม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม
สถานการณ์ปัญหาของผู้บริโภค
ปัจจุบันนี้จะเห็นได้ว่ารัฐบาลและเอกชน ได้ให้ความสำคัญและส่งเสริมให้ประชาชน ในฐานะผู้บริโภค ได้รู้จักคุ้มตรองสิทธิของตนเอง อ่านเพิ่มเติม

พฤติกรรมทางเพศ

พฤติกรรมทางเพศ
ปัญหาพฤติกรรมทางเพศของเยาวชน เป็นปัญหาสำคัญที่สุดประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ  ปัจจัยต่างๆมีอิทธิต่อพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนในปัจจุบันเห็นได้ชัดเจน  ได้แก่  อิทธิพลจากครอบครัว  เพื่อน  สังคม  และ วัฒนธรรม  นักเรียนจึงควรเรียนรู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่มีอิทธิพลทางเพศเพื่อจะได้ปฏิบัติอย่างเหมาะสม  ไม่ถูกชักนำไปในทางที่ไม่ถูกต้องซึ้งจะเป็นผลเสียของอนาคตของต อ่านเพิ่มเติม


ระบบอวัยวะของร่างกาย

การทำงานระบบใหญ่ๆ 3 ระบบ
1.ระบบผิวหนัง
ระบบผิวหนังเป็นระบบที่ห่อหุ้มร่างกาย  เซลล์ชั้นบนมีการเปลี่ยนแปลงมี่สำคัญ คือ มีเคอราทิน(keratin) ใสและหนา มีความสำคัญคือ ป้องกันน้ำเข้าสู่ร่างกาย การเปลี่ยนที่ทำให้เกิด เคอราทิน เรียกว่า เคอราทีทีไนเซซัน (keratinization)
ผิวหนังประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนที่อยู่บนพื้นผิว  เรียกว่า หนังกำพร้า (epidermis)
ส่วนที่ลึกไป เรียกว่าหนังแท้
1.หนังกำพร้า (epidermis) เป็นผิวบนสุด ที่ประกอบด้วยเซลล์บางๆ ตรงพื้นผิวไม่มีนิวเคลียส เป็นส่วนที่หลุดลอกเป็นขี้ไคล แล้วสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาแทนอยู่เสมอ ส่วนต่างที่เกิดจากหนังกำพร้า ได้แก่ เล็บมือ เล็บเท้า รูขุมขนในชั้นหนังแท้ ส่ อ่านเพิ่มเติม